บาคาร่าออนไลน์ รองโฆษกประจำสำนักนายกฯ เผย ประยุทธ์ สั่งคุมเข้มการ เดินทางข้ามจังหวัด และคอยติดตามอย่างเข้มงวด เน้นยำต้องเป็นไปตามมาตรการ สธ. น.ส.ไตรศุลี ไตรสรณกุล รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ได้เปิดเผยว่า พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ได้มอบหมายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องติดตา มกำกับดูแลการกลับมาเปิดให้บริการทั้งในส่วนของรถโดยสารสาธารณะ รถตู้ รวมถึงอากาศยาน ให้ดำเนินตามมาตรการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคที่ยังต้องเข้มงวด และต้องเป็นไปตามแนวปฏิบัติในข้อกำหนดออกตามความในมาตรา9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 ฉบับที่ 32 ซึ่งลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 28 ส.ค. 2564
ซึ่งรองโฆษกประจำสำนักนายกฯ ยังกล่าวอีกว่า
ในส่วนของประชาชนที่มีความจำเป็นต้องเป็นต้องเดินทางข้ามจังหวัดในช่วงเวลานี้ ก็ขอความร่วมมือในการปฏิบัติตามมาตรการควบคุมโรคที่เข้มงวด ตามแนวทางการป้องกันโรคในทุกกรณีทุกโอกาส หรือ Universal Prevention และขอให้ติดตามข้อมูลก่อนการเดินทางว่าจังหวัดปลายทางที่จะเดินทางไปนั้นมีมาตรการป้องกันโรคอย่างไร ผู้เดินทางจากพื้นที่ต่างๆ จะต้องปฏิบัติตนอย่างไร เนื่องจาก ศบค. ผ่อนคลายให้เกิดการเดินทางได้มากขึ้น แต่ทุกจังหวัดก็ยังมีมาตรการเฉพาะพื้นที่
ส่วนประชาชนซึ่งเป็นผู้ป่วยโควิด-19 ที่ต้องการเดินทางกลับไปรักษาตัว ณ ภูมิลำเนา ยังขอให้เป็นการเดินทางตามระบบในโครงการรับคนกลับบ้าน/รับผู้ป่วยกลับภูมิลำเนา โดยประสานงานผ่านสายด่วน สปสช. 1330 กด 15 ไม่เดินทางกลับเอง ทั้งนี้เพื่อการส่งตัวปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วยและประชาชนทั่วไป
“ศบค.เริ่มผ่อนคลายให้ระบบขนส่งสาธารณะโดยเฉพาะในพื้นที่สีแดงเข้มเริ่มกลับมาให้บริการได้ ท่านนายกรัฐมนตรียังได้กำชับและมอบหมายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งกระทรวงคมนาคม กระทรวงสาธารณสุข รวมถึงหน่วยงานในพื้นที่ให้ร่วมกันติดตามดูแลการให้ดำเนินมาตรการต่างๆของผู้ให้บริการ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยกับทั้งประชาชนและพนักงานผู้ให้บริการ และหากดำเนินการไปได้ราบรื่นก็จะนำไปสู่การผ่อนคลายมาตรการต่างๆที่เพิ่มขึ้นในระยะต่อไปได้” น.ส.ไตรศุลี กล่าว
โครงการ “ภูเก็ตแซนด์บ็อกซ์” (Phuket Sandbox) เป็นโครงการที่เกิดขึ้นจากข้อสั่งการของผม ในการหาหนทางในการทดลองเปิดประเทศรับนักท่องเที่ยวเข้ามาโดยไม่ต้องกักตัว เพื่อฟื้นอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวที่เป็นรายได้หลักของประเทศมาตลอด โดยพื้นที่ที่เหมาะสมที่สุดนั่นคือจังหวัดภูเก็ต ที่เป็นทั้งแหล่งท่องเที่ยวและเป็นเกาะที่สามารถควบคุมการเข้าออกได้ ดังนั้นเราจึงมีการเตรียมความพร้อมด้วยการระดมฉีดวัคซีนให้กับประชาชนในภูเก็ต ซึ่งในวันนี้ฉีดไปมากกว่า 70% ของประชากรทั้งจังหวัดแล้ว โดยเฉพาะพี่น้องในภาคการท่องเที่ยวที่เราจะฉีดให้ครบ 100% ซึ่งจะเปิดรับเฉพาะนักท่องเที่ยวที่ฉีดวัคซีนครบ 2 เข็มแล้วจากประเทศที่มีความเสี่ยงต่ำ และต้องพักอาศัยในภูเก็ตอย่างน้อย 14 วันก่อนจะไปท่องเที่ยวในพื้นที่อื่นต่อได้ และจะมีระบบตรวจโรคและติดตามตัวอย่างเข้มงวดด้วย
ลงทะเบียนฉีดวัคซีนโควิด ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ 9 โมงเช้า 30 ส.ค. 64
ลงทะเบียนฉีดวัคซีนโควิด ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ 9 โมงเช้า 30 ส.ค. 64 ได้ฉีดวัคซีนแอสตราเซเนกา หรือ วัคซีนซิโนแวค
วันที่ 30 สิงหาคม 2564 ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ เปิดลงทะเบียนขอรับการจัดสรรวัคซีนหลัก สำหรับบุคคลธรรมดา ขอเชิญประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไป ที่ยังไม่เคยเข้ารับการฉีดวัคซีนโควิด-19 มาก่อน ลงทะเบียนขอรับวัคซีนโควิด-19 หลัก (AstraZeneca หรือ Sinovac) ณ ศูนย์บริการฉีดวัคซีนโควิด-19 ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ CAT Convention Hall ถนนแจ้งวัฒนะ
เปิดลงทะเบียนแจ้งความประสงค์ขอรับวัคซีนหลัก โดยยังไม่กำหนดวันนัดหมายรับวัคซีน ในเวลา 09.00 น. ของวันนี้ ผ่านทางเว็บไซต์ https://vaccinecovid19.cra.ac.th
ทั้งนี้ ผู้ที่ลงทะเบียนจะได้รับ SMS ตามลำดับ ID เพื่อแจ้งให้ท่านเข้ามาดำเนินการเลือกวัน-เวลาเข้ารับวัคซีนตั้งแต่วันที่ 6 กันยายน 2564 เป็นต้นไป
เงื่อนไขการเข้ารับวัคซีนหลักกับราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์
ขอสงวนสิทธิ์สำหรับประชาชนที่อยู่ในพื้นที่กรุงเทพฯและปริมณฑลที่สามารถเดินทางมารับวัคซีน ณ ศูนย์บริการฉีดวัคซีนโควิด-19 ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ CAT Convention Hall ถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร เท่านั้น เพื่อไม่ให้เสียสิทธิ์สำหรับผู้ที่สามารถเข้ารับวัคซีนได้ตามช่วงเวลาที่กำหนด
ผู้ลงทะเบียนต้องระบุเลขที่บัตรประจำตัวประชาชน หรือเลขที่หนังสือเดินทาง หรือเลขที่บัตรประจำตัวคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทย
ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ไม่มีนโยบายให้ฉีดวัคซีนสลับชนิดกัน เนื่องจากเป็นวัคซีนที่ใช้ในภาวะฉุกเฉิน
ผู้ลงทะเบียนเข้ารับวัคซีนหลักกับราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ไม่สามารถเลือกชนิดของวัคซีนได้ โดยให้บริการตามโควตาวัคซีนที่ได้รับการจัดสรรมาจากกระทรวงสาธารณสุข
ดังนั้น ผู้ที่ฉีดวัคซีน AstraZeneca ถ้ามีตามที่กล่าวมาถือเป็นอาการที่พบได้หลังการฉีดวัคซีน ดังนั้นหลังฉีดถ้ามีอาการให้รับประทานยาพาราเซตามอล ไม่ต้องรอไข้ขึ้นสูง หรือปวดเมื่อยเนื้อเมื่อยตัว และสามารถทานซ้ำได้ทุก 4-6 ชั่วโมง อาการดังกล่าวจะอยู่ประมาณ 1-2 วัน ก็จะหายเป็นปกติ แต่ถ้ามีอาการมาก ควรปรึกษาแพทย์
ไม่ว่าจะเป็นวัคซีนในกลุ่ม virus Vector หรือ mRNA วัคซีนจะมีอาการข้างเคียงได้มากกว่าวัคซีนชนิดเชื้อตาย ตามหลักฐานเชิงประจักษ์ บาคาร่าออนไลน์